วันจันทร์ที่ 14 มกราคม พ.ศ. 2562

วันอังคารที่ 11 ธันวาคม พ.ศ. 2561

วิทยาศาสตร์

วิทยาศาสตร์ [note 1] หมายถึง ความรู้เกี่ยวกับสิ่งต่าง ๆ ในธรรมชาติทั้งที่มีชีวิตและไม่มีชีวิต รวมทั้งกระบวนการประมวลความรู้เชิงประจักษ์ ที่เรียกว่ากระบวนการทางวิทยาศาสตร์ และกลุ่มขององค์ความรู้ที่ได้จากกระบวนการดังกล่าว
การศึกษาในด้านวิทยาศาสตร์ยังถูกแบ่งย่อยออกเป็น วิทยาศาสตร์ธรรมชาติ และ วิทยาศาสตร์ประยุกต์ คำว่า science ในภาษาอังกฤษ ซึ่งแปลว่า วิทยาศาสตร์นั้น มาจากภาษาลาติน คำว่า scientia ซึ่งหมายความว่า ความรู้ ในคริสต์ศตวรรษที่ 17 ฟรานซิส เบคอนได้พยายามคิดค้นวิธีมาตรฐานในการอุปนัย เพื่อนำมาใช้สร้างทฤษฎีหรือกฎต่าง ๆ ทางวิทยาศาสตร์จากข้อมูลที่ทดลองหรือสังเกตได้จากธรรมชาติ เป็นผู้ถอนรื้อและปรับปรุงแนวความคิดเกี่ยวกับวิทยาศาสตร์สมัยเก่า ที่ยึดกับแนวความคิดของอริสโตเติลทิ้งไป. ณ ขณะนั้น กาลิเลโอได้กำหนดลักษณะสำคัญของวิทยาศาสตร์สมัยใหม่ไว้ดังนี้
  • ทำนายสิ่งที่เกิดขึ้นในปรากฏการณ์ธรรมชาติได้ โดยที่ไม่จำเป็นต้องอธิบายสาเหตุได้ เช่น ในขณะที่ยังไม่มีความรู้เรื่องแรงโน้มถ่วงนั้น กาลิเลโอไม่สนใจที่จะอธิบายว่า "ทำไมวัตถุถึงตกลงสู่พื้นดิน ?" แต่สนใจคำถามที่ว่า "เมื่อมันตกแล้ว มันจะถึงพื้นภายในเวลาเท่าใด ?"
  • ใช้คณิตศาสตร์เพื่อเป็นภาษาหลักของวิทยาศาสตร์ (ดูหัวข้อ คณิตศาสตร์และวิทยาศาสตร์)
ในเวลาต่อมา ไอแซก นิวตันได้ต่อเติมรากฐานและระบบระเบียบของแนวคิดเหล่านี้ และเป็นต้นแบบสำหรับสาขาด้านอื่น ๆ ของวิทยาศาสตร์
ก่อนหน้านั้น, ในปี ค.ศ. 1619 เรอเน เดส์การตส์ ได้เริ่มเขียนความเรียงเรื่อง Rules for the Direction of the Mind (ซึ่งเขียนไม่เสร็จ). โดยความเรียงชิ้นนี้ถือเป็นความเรียงชิ้นแรกที่เสนอกระบวนการคิดเกี่ยวกับวิทยาศาสตร์สมัยใหม่และปรัชญาสมัยใหม่. อย่างไรก็ตามเนื่องจากเดส์การตส์ได้ทราบเรื่องที่กาลิเลโอ ผู้มีความคิดคล้ายกับตนถูกเรียกสอบสวนโดย โป๊ปแห่งกรุงโรม ทำให้เดส์การตส์ไม่ได้ตีพิมพ์ผลงานชิ้นนี้ออกมาในเวลานั้น
การพยายามจะทำให้ระเบียบวิธีทางวิทยาศาสตร์เป็นระบบนั้น ต้องพบกับปัญหาของการอุปนัย ที่ชี้ให้เห็นว่าการคิดแบบอุปนัย (ซึ่งเริ่มต้นโดยฟรานซิส เบคอน) นั้น ไม่ถูกต้องตามหลักตรรกศาสตร์. เดวิด ฮูมได้อธิบายปัญหาดังกล่าวออกมาอย่างละเอียด คาร์ล พอพเพอร์ในความคิดลักษณะเดียวกับคนอื่น ๆ ได้พยายามอธิบายว่าสมมติฐานที่จะใช้ได้นั้นจะต้องทำให้เป็นเท็จได้ (falsifiable) นั่นคือจะต้องอยู่ในฐานะที่ถูกปฏิเสธได้ ความยุ่งยากนี้ทำให้เกิดการปฏิเสธความเชื่อพื้นฐานที่ว่ามีระเบียบวิธี 'หนึ่งเดียว' ที่ใช้ได้กับวิทยาศาสตร์ทุกแขนง และจะทำให้สามารถแยกแยะวิทยาศาสตร์ ออกจากสาขาอื่นที่ไม่เป็นวิทยาศาสตร์ได้
ปัญหาเกี่ยวกระบวนการปฏิบัติของวิทยาศาสตร์มีความสำคัญเกินขอบเขตของวงการวิทยาศาสตร์ หรือวงการวิชาการ ในระบบยุติธรรมและในการถกเถียงปัญหาเกี่ยวกับนโยบายสาธารณะ การศึกษาที่ใช้วิธีการนอกเหนือจาก แนวปฏิบัติทางวิทยาศาสตร์ที่เป็นที่ยอมรับ จะถูกปฏิเสธ และถูกจัดว่าเป็น "วิทยาศาสตร์เทียม"[ต้องการอ้างอิง]

ลูกเสือ-เนตรนารี

หลักสูตรการเรียนการสอนกิจกรรม
ในฐานะที่คณะลูกเสือแห่งชาติ (The National Scout Organization of Thailand: NSOT) เป็นสมาชิก ขององค์การลูกเสือโลก (World Organization of the Scout Movement: WOSM) จะต้องปฏิบัติตาม วัตถุประสงค์ หลักการ และวิธีการของการลูกเสือ ตามที่องค์การลูกเสือโลกได้ก าหนดไว้อย่างเคร่งครัดแล้ว คณะลูกเสือแห่งชาติยงัยดึมนั่ ในวตัถุประสงค์ของคณะลูกเสือแห่งชาติตามพระราชบัญญตัิลูกเสือ (ฉบับที่ 3)พ.ศ. 2528 และปฏิบัติตามข้อบังคับคณะลูกเสือแห่งชาติ ว่าด้วยการปกครอง หลักสูตรและวิชาพิเศษ พ.ศ. 2509 การเรียนการสอนกิจกรรมลูกเสือ เดิมเป็ นกิจกรรมเลือก ต่อมาได้แก ้ไขเป็ นกิจกรรมบังคับ และแก ้ไข อีกคร้ังเป็นวิชาบังคับเรียน แต่เมื่อประเมินผลแลว้เห็นว่าไม่ประสบผลสำเร็จ จึงแกไ้ขเป็นกจิกรรมบังคับ เลือก จนถึง พ.ศ. 2544 กระทรวงศึกษาธิการ จึงได้กำหนดให้สถานศึกษาใช้หลักสูตรการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน พุทธศักราช 2544 เริ่มต้งัแต่ปีพ.ศ. 2546 เป็ นต้นไป โดยก าหนดให้กิจกรรมลูกเสือ ยุวกาชาด และผู้บำเพ็ญ ประโยชน์ อยู่ในกลุ่มกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน โครงสร้างหลักสูตร ประเภท ระดับชั้น วิชาแกน วิชาพิเศษ สำรอง (อายุ 8-11 ปี) ป.1 – ป.3 เตรียมลูกเสือส ารอง ดาวดวงที่ 1-3 - การฝึ กอบรมและกิจกรรมลูกเสื อ ส ารอง จะต้องจัดให้เหมาะสมก ับวัย ของเด็กโดยค านึงถึงพฒั นาการท้ัง ร่างกายและจิตใจเป็นพ้ืนฐาน ไม่ว่า เด็กจะอยชู่ ้นั ใดกต็าม วิชาพิเศษ 18 วิชา ใช้วิธี บูรณาการเข้าก ับวิชาสามัญ ในหลักสูตร สามัญ (อายุ 11-16 ปี) ป.4 – ป.6 ลูกเสือตรี-โท-เอก - เริ่มฝึกอบรมให้มีความรับผิดชอบ มากข้ึน เริ่มมีกิจกรร มใ ช้ชีวิต กลางแจ้งและการผจญภัย เน้นระบบ หมู่การเป็นผูน้ า รวมท้ังการบ าเพ็ญ ประโยชน์ทวั่ ไป วิชาพิเศษ 54 วิชา ใช้วิธีบูรณาการเข้าก ับ วิชาสามัญในหลักสูตร

พละศึกษา


ภาษาไทย


ดนตรี

                               วิชาดนตรี

  1. 1. วิ ช าดนตรีชั ้ น ประถมศึ ก ษาปี ท ี ่ 6 จั ด ทำ า โดย นางสาวสุ ว ิ ม ล ปกาสิ ท ธิ ์ ครู ผ ู ้ ช ่ ว ย โรงเรี ย นวั ด อิ น ทรวิ ห ารสำ า นั ก งานเขตพระนคร กรุ ง เทพมหานคร
  2. 2. ดนตรี ( M u s ic ) ดนตรี ( M u s i c ) เป็ น ศาสตร์ แ ขนงหนึ ่ งที ่ แ สดงถึ ง ศิ ล ปะ และวั ฒ นธรรม อั น เป็ นความงาม ความสุ น ทรี ย ภาพ เป็ น ความงามที ่สั ม ผั ส ได้ ด ้ ว ยความรู ้ ส ึ ก นึ ก คิ ด ความดี ง ามที ่ ม ีคุ ณ ค่ า ทาจิ ต ใจ และดนตรี ย ั ง เป็ น ส่ ว นหนึ ่ ง ที ่ แ สดงให้ เ ห็ น ถึ ง เอกลั ก ษณ์ และมรดกทางวั ฒ นธรรมของมวลมนุ ษ ยชาติ ดนตรี เ ปรี ย บเสมื อ นภาษาสากลที ่ ค นทั ่ วโลกสามารถฟั ง และเข้ า ใจได้ โ ดยไม่ ต ้ อ งแปล B y “U m ng” iju
  3. 3. เครื ่ อ งดนตรี เครื ่ อ งดนตรี ไ ทย สามารถ ไทยแยกออกเป็ น 4 ประเภทได้โดยใช้ ก ิ ร ิ ย าในการบรรเลงเป็ น เกณฑ์ ใ นการจำ า แนกได้ แ ก่ * เครื ่ อ งดนตรี ไ ทยประเภทเครื ่ อ งดี ด * เครื ่ อ งดนตรี ไ ทยประเภทเครื ่ อ งสี * เครื ่ อ งดนตรี ไ ทยประเภท B y “U m ng” iju
  4. 4. จะเข้ เครื ่ อ งดี ด พิ ณกระจั บปี ่ B y “U m ng” iju
  5. 5. ซอด้ ว ง ซอสามสาย ซออู ้เครื ่ อ งสี B y “U m ng” iju
  6. 6. ฆ้ อ งวงใหญ่ เอ นาด ระ กระนาดทุ ้ ม เครื ่ อ ง ตีฆ้ อ งมอญ B y “U m ng” iju
  7. 7. เครื ่ อ ง ขลุ่ย เป่ าโหวด ปี่ไฉน แคน B y “U m ng iju ”
  8. 8. ดนตรีถอว่าเป็นภาษาสากล ใช่ ื หรือ ไม่ใช่คะ ่ ไม่ใช่ ค่ะ B y “U m ng” iju
  9. 9. เครื่องดนตรีไทยส่วนใหญ่ ทำามาจากไม้ใช่หรือไม่ใช่ครับ ไม่ใช่คะ ่ B y “U m ng” iju
  10. 10. เครื ่ อ งดนตรี ไ ทยแบ่ ง ออก 30 เป็ น กี ่ ป ระเภท B. 2A. 4 ประเภท ประเภท C. 5 D. 3 ประเภท ประเภท B y “U m ng” iju
  11. 11. กระจั บ ปี ่ จ ั ด ว่ า เครื ่ อ งดนตรี ประเภทใด 30A.เครื่องดีด B.เครื่องเป่า C.เครื่องสี D.เครื่องตี B y “U m ng” iju
  12. 12. ให้นักเรียนจับคู่เครื่องดนตรีให้ตรงกับชื่อที่กำาหนดให้ ระนาดเอก จะเข้ ซอด้วง ฆ้องวง ขลุย ่ B y “U m ng” iju
  13. 13. ให้นักเรียนจับคู่เครื่องดนตรีให้ตรงกับประเภทของ เครื่องดนตรี จะเข้ พิณ ซออู้ดีด พิณ กระจับปี่ จะเข้ ซอด้วงสี กระจับปี่ ซออู้ ซอสามสาย B y “Uวง ng ซอด้ m ” iju
  14. 14. ให้นักเรียนจับคู่เครื่องดนตรีให้ตรงกับประเภทของ เครื่องดนตรี ตี ฆ้องวง ขลุ่ย าด ะน ป ี่ไฉน ร ก เอ แคน ฆ้อง มอญเป่า โหวด าด ระน ุ้ม

ภาษาจีน

ภาษาจีน/คำศัพท์/วิชา

ไบยังการนำทางไปยังการค้นหา
คำศัพท์พินอินคำอ่านความหมาย
科目                  kēmùเคอมู่วิชา
医学yīxuéอีเสียแพทย์ศาสตร์
物理学wùlǐxuéอู้หลี่เสียฟิสิกส์
语言学yǔyánxuéยวี่เหยียนเสียภาษาศาสตร์
哲学zhéxuéเจ๋อเสียปรัชญา
历史lìshǐลี่สื่อประวัติศาสตร์
法学fǎxuéฝ่าเสียนิติศาสตร์
生物学shēngwùxuéเซิงอู้เสียชีววิทยา
化学huàxuéฮว่าเสียเคมี
数学shùxuéซุ่เสียคณิตศาสตร์
经济学jīngjìxuéจิ้งจื่อเศรษศาสตร์
教育学jiàoyùxué     เจี้ยวยวี่เสียศึกษาศาตร์
人文学科rénwénkēxuéเหรินเหวินเคอเสียศิลปศาสตร์
工程学gōngchēngxuéกงเฉิงชือวิศวกรรมศาสตร์
文学wénxuéเหวินเสียวรรณคดี
政治学zhèngzhìxuéเจิ้งจื่อเสียรัฐศาตร์
地理学dìlǐxuéตี้หลี่เสียภูมิศาสตร์
药学yàoxuéเย่าเสียเภสัชศาสตร์
营养yíngyángหยิงหยางโภชนาการ