วันอังคารที่ 11 ธันวาคม พ.ศ. 2561

วิทยาศาสตร์

วิทยาศาสตร์ [note 1] หมายถึง ความรู้เกี่ยวกับสิ่งต่าง ๆ ในธรรมชาติทั้งที่มีชีวิตและไม่มีชีวิต รวมทั้งกระบวนการประมวลความรู้เชิงประจักษ์ ที่เรียกว่ากระบวนการทางวิทยาศาสตร์ และกลุ่มขององค์ความรู้ที่ได้จากกระบวนการดังกล่าว
การศึกษาในด้านวิทยาศาสตร์ยังถูกแบ่งย่อยออกเป็น วิทยาศาสตร์ธรรมชาติ และ วิทยาศาสตร์ประยุกต์ คำว่า science ในภาษาอังกฤษ ซึ่งแปลว่า วิทยาศาสตร์นั้น มาจากภาษาลาติน คำว่า scientia ซึ่งหมายความว่า ความรู้ ในคริสต์ศตวรรษที่ 17 ฟรานซิส เบคอนได้พยายามคิดค้นวิธีมาตรฐานในการอุปนัย เพื่อนำมาใช้สร้างทฤษฎีหรือกฎต่าง ๆ ทางวิทยาศาสตร์จากข้อมูลที่ทดลองหรือสังเกตได้จากธรรมชาติ เป็นผู้ถอนรื้อและปรับปรุงแนวความคิดเกี่ยวกับวิทยาศาสตร์สมัยเก่า ที่ยึดกับแนวความคิดของอริสโตเติลทิ้งไป. ณ ขณะนั้น กาลิเลโอได้กำหนดลักษณะสำคัญของวิทยาศาสตร์สมัยใหม่ไว้ดังนี้
  • ทำนายสิ่งที่เกิดขึ้นในปรากฏการณ์ธรรมชาติได้ โดยที่ไม่จำเป็นต้องอธิบายสาเหตุได้ เช่น ในขณะที่ยังไม่มีความรู้เรื่องแรงโน้มถ่วงนั้น กาลิเลโอไม่สนใจที่จะอธิบายว่า "ทำไมวัตถุถึงตกลงสู่พื้นดิน ?" แต่สนใจคำถามที่ว่า "เมื่อมันตกแล้ว มันจะถึงพื้นภายในเวลาเท่าใด ?"
  • ใช้คณิตศาสตร์เพื่อเป็นภาษาหลักของวิทยาศาสตร์ (ดูหัวข้อ คณิตศาสตร์และวิทยาศาสตร์)
ในเวลาต่อมา ไอแซก นิวตันได้ต่อเติมรากฐานและระบบระเบียบของแนวคิดเหล่านี้ และเป็นต้นแบบสำหรับสาขาด้านอื่น ๆ ของวิทยาศาสตร์
ก่อนหน้านั้น, ในปี ค.ศ. 1619 เรอเน เดส์การตส์ ได้เริ่มเขียนความเรียงเรื่อง Rules for the Direction of the Mind (ซึ่งเขียนไม่เสร็จ). โดยความเรียงชิ้นนี้ถือเป็นความเรียงชิ้นแรกที่เสนอกระบวนการคิดเกี่ยวกับวิทยาศาสตร์สมัยใหม่และปรัชญาสมัยใหม่. อย่างไรก็ตามเนื่องจากเดส์การตส์ได้ทราบเรื่องที่กาลิเลโอ ผู้มีความคิดคล้ายกับตนถูกเรียกสอบสวนโดย โป๊ปแห่งกรุงโรม ทำให้เดส์การตส์ไม่ได้ตีพิมพ์ผลงานชิ้นนี้ออกมาในเวลานั้น
การพยายามจะทำให้ระเบียบวิธีทางวิทยาศาสตร์เป็นระบบนั้น ต้องพบกับปัญหาของการอุปนัย ที่ชี้ให้เห็นว่าการคิดแบบอุปนัย (ซึ่งเริ่มต้นโดยฟรานซิส เบคอน) นั้น ไม่ถูกต้องตามหลักตรรกศาสตร์. เดวิด ฮูมได้อธิบายปัญหาดังกล่าวออกมาอย่างละเอียด คาร์ล พอพเพอร์ในความคิดลักษณะเดียวกับคนอื่น ๆ ได้พยายามอธิบายว่าสมมติฐานที่จะใช้ได้นั้นจะต้องทำให้เป็นเท็จได้ (falsifiable) นั่นคือจะต้องอยู่ในฐานะที่ถูกปฏิเสธได้ ความยุ่งยากนี้ทำให้เกิดการปฏิเสธความเชื่อพื้นฐานที่ว่ามีระเบียบวิธี 'หนึ่งเดียว' ที่ใช้ได้กับวิทยาศาสตร์ทุกแขนง และจะทำให้สามารถแยกแยะวิทยาศาสตร์ ออกจากสาขาอื่นที่ไม่เป็นวิทยาศาสตร์ได้
ปัญหาเกี่ยวกระบวนการปฏิบัติของวิทยาศาสตร์มีความสำคัญเกินขอบเขตของวงการวิทยาศาสตร์ หรือวงการวิชาการ ในระบบยุติธรรมและในการถกเถียงปัญหาเกี่ยวกับนโยบายสาธารณะ การศึกษาที่ใช้วิธีการนอกเหนือจาก แนวปฏิบัติทางวิทยาศาสตร์ที่เป็นที่ยอมรับ จะถูกปฏิเสธ และถูกจัดว่าเป็น "วิทยาศาสตร์เทียม"[ต้องการอ้างอิง]

ลูกเสือ-เนตรนารี

หลักสูตรการเรียนการสอนกิจกรรม
ในฐานะที่คณะลูกเสือแห่งชาติ (The National Scout Organization of Thailand: NSOT) เป็นสมาชิก ขององค์การลูกเสือโลก (World Organization of the Scout Movement: WOSM) จะต้องปฏิบัติตาม วัตถุประสงค์ หลักการ และวิธีการของการลูกเสือ ตามที่องค์การลูกเสือโลกได้ก าหนดไว้อย่างเคร่งครัดแล้ว คณะลูกเสือแห่งชาติยงัยดึมนั่ ในวตัถุประสงค์ของคณะลูกเสือแห่งชาติตามพระราชบัญญตัิลูกเสือ (ฉบับที่ 3)พ.ศ. 2528 และปฏิบัติตามข้อบังคับคณะลูกเสือแห่งชาติ ว่าด้วยการปกครอง หลักสูตรและวิชาพิเศษ พ.ศ. 2509 การเรียนการสอนกิจกรรมลูกเสือ เดิมเป็ นกิจกรรมเลือก ต่อมาได้แก ้ไขเป็ นกิจกรรมบังคับ และแก ้ไข อีกคร้ังเป็นวิชาบังคับเรียน แต่เมื่อประเมินผลแลว้เห็นว่าไม่ประสบผลสำเร็จ จึงแกไ้ขเป็นกจิกรรมบังคับ เลือก จนถึง พ.ศ. 2544 กระทรวงศึกษาธิการ จึงได้กำหนดให้สถานศึกษาใช้หลักสูตรการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน พุทธศักราช 2544 เริ่มต้งัแต่ปีพ.ศ. 2546 เป็ นต้นไป โดยก าหนดให้กิจกรรมลูกเสือ ยุวกาชาด และผู้บำเพ็ญ ประโยชน์ อยู่ในกลุ่มกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน โครงสร้างหลักสูตร ประเภท ระดับชั้น วิชาแกน วิชาพิเศษ สำรอง (อายุ 8-11 ปี) ป.1 – ป.3 เตรียมลูกเสือส ารอง ดาวดวงที่ 1-3 - การฝึ กอบรมและกิจกรรมลูกเสื อ ส ารอง จะต้องจัดให้เหมาะสมก ับวัย ของเด็กโดยค านึงถึงพฒั นาการท้ัง ร่างกายและจิตใจเป็นพ้ืนฐาน ไม่ว่า เด็กจะอยชู่ ้นั ใดกต็าม วิชาพิเศษ 18 วิชา ใช้วิธี บูรณาการเข้าก ับวิชาสามัญ ในหลักสูตร สามัญ (อายุ 11-16 ปี) ป.4 – ป.6 ลูกเสือตรี-โท-เอก - เริ่มฝึกอบรมให้มีความรับผิดชอบ มากข้ึน เริ่มมีกิจกรร มใ ช้ชีวิต กลางแจ้งและการผจญภัย เน้นระบบ หมู่การเป็นผูน้ า รวมท้ังการบ าเพ็ญ ประโยชน์ทวั่ ไป วิชาพิเศษ 54 วิชา ใช้วิธีบูรณาการเข้าก ับ วิชาสามัญในหลักสูตร

พละศึกษา


ภาษาไทย


ดนตรี

                               วิชาดนตรี

  1. 1. วิ ช าดนตรีชั ้ น ประถมศึ ก ษาปี ท ี ่ 6 จั ด ทำ า โดย นางสาวสุ ว ิ ม ล ปกาสิ ท ธิ ์ ครู ผ ู ้ ช ่ ว ย โรงเรี ย นวั ด อิ น ทรวิ ห ารสำ า นั ก งานเขตพระนคร กรุ ง เทพมหานคร
  2. 2. ดนตรี ( M u s ic ) ดนตรี ( M u s i c ) เป็ น ศาสตร์ แ ขนงหนึ ่ งที ่ แ สดงถึ ง ศิ ล ปะ และวั ฒ นธรรม อั น เป็ นความงาม ความสุ น ทรี ย ภาพ เป็ น ความงามที ่สั ม ผั ส ได้ ด ้ ว ยความรู ้ ส ึ ก นึ ก คิ ด ความดี ง ามที ่ ม ีคุ ณ ค่ า ทาจิ ต ใจ และดนตรี ย ั ง เป็ น ส่ ว นหนึ ่ ง ที ่ แ สดงให้ เ ห็ น ถึ ง เอกลั ก ษณ์ และมรดกทางวั ฒ นธรรมของมวลมนุ ษ ยชาติ ดนตรี เ ปรี ย บเสมื อ นภาษาสากลที ่ ค นทั ่ วโลกสามารถฟั ง และเข้ า ใจได้ โ ดยไม่ ต ้ อ งแปล B y “U m ng” iju
  3. 3. เครื ่ อ งดนตรี เครื ่ อ งดนตรี ไ ทย สามารถ ไทยแยกออกเป็ น 4 ประเภทได้โดยใช้ ก ิ ร ิ ย าในการบรรเลงเป็ น เกณฑ์ ใ นการจำ า แนกได้ แ ก่ * เครื ่ อ งดนตรี ไ ทยประเภทเครื ่ อ งดี ด * เครื ่ อ งดนตรี ไ ทยประเภทเครื ่ อ งสี * เครื ่ อ งดนตรี ไ ทยประเภท B y “U m ng” iju
  4. 4. จะเข้ เครื ่ อ งดี ด พิ ณกระจั บปี ่ B y “U m ng” iju
  5. 5. ซอด้ ว ง ซอสามสาย ซออู ้เครื ่ อ งสี B y “U m ng” iju
  6. 6. ฆ้ อ งวงใหญ่ เอ นาด ระ กระนาดทุ ้ ม เครื ่ อ ง ตีฆ้ อ งมอญ B y “U m ng” iju
  7. 7. เครื ่ อ ง ขลุ่ย เป่ าโหวด ปี่ไฉน แคน B y “U m ng iju ”
  8. 8. ดนตรีถอว่าเป็นภาษาสากล ใช่ ื หรือ ไม่ใช่คะ ่ ไม่ใช่ ค่ะ B y “U m ng” iju
  9. 9. เครื่องดนตรีไทยส่วนใหญ่ ทำามาจากไม้ใช่หรือไม่ใช่ครับ ไม่ใช่คะ ่ B y “U m ng” iju
  10. 10. เครื ่ อ งดนตรี ไ ทยแบ่ ง ออก 30 เป็ น กี ่ ป ระเภท B. 2A. 4 ประเภท ประเภท C. 5 D. 3 ประเภท ประเภท B y “U m ng” iju
  11. 11. กระจั บ ปี ่ จ ั ด ว่ า เครื ่ อ งดนตรี ประเภทใด 30A.เครื่องดีด B.เครื่องเป่า C.เครื่องสี D.เครื่องตี B y “U m ng” iju
  12. 12. ให้นักเรียนจับคู่เครื่องดนตรีให้ตรงกับชื่อที่กำาหนดให้ ระนาดเอก จะเข้ ซอด้วง ฆ้องวง ขลุย ่ B y “U m ng” iju
  13. 13. ให้นักเรียนจับคู่เครื่องดนตรีให้ตรงกับประเภทของ เครื่องดนตรี จะเข้ พิณ ซออู้ดีด พิณ กระจับปี่ จะเข้ ซอด้วงสี กระจับปี่ ซออู้ ซอสามสาย B y “Uวง ng ซอด้ m ” iju
  14. 14. ให้นักเรียนจับคู่เครื่องดนตรีให้ตรงกับประเภทของ เครื่องดนตรี ตี ฆ้องวง ขลุ่ย าด ะน ป ี่ไฉน ร ก เอ แคน ฆ้อง มอญเป่า โหวด าด ระน ุ้ม

ภาษาจีน

ภาษาจีน/คำศัพท์/วิชา

ไบยังการนำทางไปยังการค้นหา
คำศัพท์พินอินคำอ่านความหมาย
科目                  kēmùเคอมู่วิชา
医学yīxuéอีเสียแพทย์ศาสตร์
物理学wùlǐxuéอู้หลี่เสียฟิสิกส์
语言学yǔyánxuéยวี่เหยียนเสียภาษาศาสตร์
哲学zhéxuéเจ๋อเสียปรัชญา
历史lìshǐลี่สื่อประวัติศาสตร์
法学fǎxuéฝ่าเสียนิติศาสตร์
生物学shēngwùxuéเซิงอู้เสียชีววิทยา
化学huàxuéฮว่าเสียเคมี
数学shùxuéซุ่เสียคณิตศาสตร์
经济学jīngjìxuéจิ้งจื่อเศรษศาสตร์
教育学jiàoyùxué     เจี้ยวยวี่เสียศึกษาศาตร์
人文学科rénwénkēxuéเหรินเหวินเคอเสียศิลปศาสตร์
工程学gōngchēngxuéกงเฉิงชือวิศวกรรมศาสตร์
文学wénxuéเหวินเสียวรรณคดี
政治学zhèngzhìxuéเจิ้งจื่อเสียรัฐศาตร์
地理学dìlǐxuéตี้หลี่เสียภูมิศาสตร์
药学yàoxuéเย่าเสียเภสัชศาสตร์
营养yíngyángหยิงหยางโภชนาการ

คริสต์ศาสนา


คณิตศาสตร์

คณิตศาสตร์ เป็นศาสตร์ที่มุ่งค้นคว้าเกี่ยวกับโครงสร้างนามธรรมที่ถูกกำหนดขึ้นผ่านทางกลุ่มของสัจพจน์ซึ่งมีการให้เหตุผลที่แน่นอนโดยใช้ตรรกศาสตร์สัญลักษณ์ และสัญกรณ์คณิตศาสตร์ เรามักนิยามโดยทั่วไปว่าคณิตศาสตร์เป็นสาขาวิชาที่ศึกษาเกี่ยวกับรูปแบบและโครงสร้างการเปลี่ยนแปลงและปริภูมิ กล่าวคร่าว ๆ ได้ว่าคณิตศาสตร์นั้นสนใจ "รูปร่างและจำนวน" เนื่องจากคณิตศาสตร์มิได้สร้างความรู้ผ่านกระบวนการทดลอง บางคนจึงไม่จัดว่าคณิตศาสตร์เป็นสาขาของวิทยาศาสตร์
ในอดีตผู้คนจะใช้สิ่งของแทนจำนวนที่จะนับยิ่งนานเข้าจำนวนประชากรยิ่งมีมากขึ้น ทำให้ผู้คนเริ่มคิดที่จะประดิษฐ์ตัวเลขขึ้นมาแทนการนับที่ใช้สิ่งของนับแทนจากนั้นก็มีการบวก ลบคูณ และหาร จากนั้นก็ก่อให้เกิดคณิตศาสตร์
คำว่า "คณิตศาสตร์" (คำอ่าน: คะ-นิด-ตะ-สาด) มาจากคำว่า คณิต (การนับ หรือ คำนวณ) และ ศาสตร์ (ความรู้ หรือ การศึกษา) ซึ่งรวมกันมีความหมายโดยทั่วไปว่า การศึกษาเกี่ยวกับการคำนวณ หรือ วิชาที่เกี่ยวกับการคำนวณ. คำนี้ตรงกับคำภาษาอังกฤษว่า mathematics มาจากคำภาษากรีก μάθημα(máthema) แปลว่า "วิทยาศาสตร์, ความรู้, และการเรียน" และคำว่า μαθηματικός (mathematikós) แปลว่า "รักที่จะเรียนรู้" ในอเมริกาเหนือนิยมย่อ mathematics ว่า math ส่วนประเทศอื่น ๆ ที่ใช้ภาษาอังกฤษนิยมย่อว่า maths
ความรู้ทางด้านคณิตศาสตร์เพิ่มขึ้นอย่างสม่ำเสมอ ผ่านทางการวิจัยและการประยุกต์ใช้ คณิตศาสตร์เป็นเครื่องมืออันหนึ่งของวิทยาศาสตร์ อย่างไรก็ตาม การคิดค้นทางคณิตศาสตร์ไม่จำเป็นต้องมีเป้าหมายอยู่ที่การนำไปใช้ทางวิทยาศาสตร์ (ดู คณิตศาสตร์บริสุทธิ์ และคณิตศาสตร์ประยุกต์)
โครงสร้างต่าง ๆ ที่นักคณิตศาสตร์สนใจและพิจารณานั้น มักจะมีต้นกำเนิดจากวิทยาศาสตร์ธรรมชาติ และสังคมศาสตร์ โดยเฉพาะฟิสิกส์ และเศรษฐศาสตร์ ปัญหาทางคณิตศาสตร์ในปัจจุบัน ยังเกี่ยวข้องกับการประยุกต์ใช้ในสาขาวิทยาการคอมพิวเตอร์ และทฤษฎีการสื่อสาร อีกด้วย
เนื่องจากคณิตศาสตร์นั้นใช้ตรรกศาสตร์สัญลักษณ์และสัญกรณ์คณิตศาสตร์ ซึ่งทำให้กิจกรรมทุกอย่างกระทำผ่านทางขั้นตอนที่ชัดเจน เราจึงสามารถพิจารณาคณิตศาสตร์ว่า เป็นระบบภาษาที่เพิ่มความแม่นยำและชัดเจนให้กับภาษาธรรมชาติ ผ่านทางศัพท์และไวยากรณ์บางอย่าง สำหรับการอธิบายและศึกษาความสัมพันธ์ทั้งทางกายภาพและนามธรรม ความหมายของคณิตศาสตร์นั้นยังมีอีกหลายมุมมอง ซึ่งหลายอันถูกกล่าวถึงในบทความเกี่ยวกับปรัชญาของคณิตศาสตร์
คณิตศาสตร์ยังถูกจัดว่าเป็นศาสตร์สัมบูรณ์ โดยจำไม่เป็นต้องมีการอ้างถึงใด ๆ จากโลกภายนอก นักคณิตศาสตร์กำหนดและพิจารณาโครงสร้างบางประเภท สำหรับใช้ในคณิตศาสตร์เองโดยเฉพาะ, เนื่องจากโครงสร้างเหล่านี้ อาจทำให้สามารถอธิบายสาขาย่อย ๆ หลาย ๆ สาขาได้ในภาพรวม หรือเป็นประโยชน์ในการคำนวณพื้นฐาน
นอกจากนี้ นักคณิตศาสตร์หลายคนก็ทำงานเพื่อเป้าหมายเชิงสุนทรียภาพเท่านั้น โดยมองว่าคณิตศาสตร์เป็นศาสตร์เชิงศิลปะ มากกว่าที่จะเป็นศาสตร์เพื่อการนำไปประยุกต์ใช้ (ดังเช่น จี. เอช. ฮาร์ดี ที่ได้กล่าวไว้ในหนังสือ A Mathematician's Apology) ; แรงผลักดันในการทำงานเช่นนี้ มีลักษณะไม่ต่างไปจากที่กวีและนักปรัชญาได้ประสบ และเป็นสิ่งที่ไม่สามารถอธิบายได้. อัลเบิร์ต ไอน์สไตน์ กล่าวว่า คณิตศาสตร์เป็นราชินีของวิทยาศาสตร์ ในหนังสือ Ideas and Opinions ของเขา
องค์ความรู้ในคณิตศาสตร์รวมกันเป็นสาขาวิชา หลักการเบื้องต้นที่เริ่มจากเลขคณิตไปยังการประยุกต์ใช้งานพื้นฐานของสาขาคณิตศาสตร์ ที่รวมพีชคณิต เรขาคณิต ตรีโกณมิติ สถิติศาสตร์ และแคลคูลัส เป็นหลักสูตรแกนในการศึกษาขั้นพื้นฐาน แม้ว่าจะได้มีการพัฒนาและขยายขอบเขตไปอย่างมากมายในช่วงเวลาหลายร้อยปี สาขาวิชาคณิตศาสตร์ยังคงถูกจัดว่าเป็นสาขาวิชาเดี่ยว ที่มีลักษณะแตกต่างจากสาขาอื่น ๆ

การงานอาชีพ


การงานอาชีพและเทคโนโลยีเป็นวิชาที่ช่วยพัฒนาให้ผู้เรียนมีความรู้ ความเข้าใจ มีทักษะพื้นฐานที่จำเป็นต่อการดำรงชีวิต และรู้เท่าทันการเปลี่ยนแปลง สามารถนำความรู้เกี่ยวกับการดำรงชีวิต การอาชีพ และเทคโนโลยี มาใช้ประโยชน์ในการทำ งานอย่างมีความคิดสร้างสรรค์ แข่งขันในสังคมไทยและสากล เห็นแนวทางในการประกอบอาชีพ รักการทำงาน และมีเจตคติที่ดีต่อการทำงาน และสามารถดำรงชีวิตอยู่ในสังคมได้อย่างพอเพียง มีความสุข
ขณะนี้สังคมไทยเป็นสังคมที่เป็นฝ่ายบริโภคเทคโนโลยี ไม่ใช่เป็นผู้ผลิตเทคโนโลยี ฉะนั้นเราจึงเป็นผู้รับที่ต้องคอยรอผู้ ผลิต ต้องตามฟัง ตามดูว่า ผู้ผลิตจะผลิตอะไรใหม่ๆขึ้นมา เพื่อจะรับเอา จึงเป็นผู้ถูกกำหนด ทั้งหมดนี้ก็เพราะเราเป็นผู้ บริโภคของที่ผู้อื่นผลิตและเราผลิตเองไม่ได้
การเสพบริโภค คือ กินนอนสบาย ใช้ของสำเร็จ ไม่ต้องทำอะไร คนที่ชอบความสุขจากการเสพบริโภคก็คือ คนที่อยากได้รับการบำรุงบำเรอโดยตัวเองไม่ต้องทำอะไร ส่วนคนที่เป็นนักผลิต จะมีจิตใจเข็มแข็ง ชอบทำ และมีความสุขจากการกระทำ จากการสร้างสรรค์ ดังนั้น หากถามเด็กไทยว่า “เรามีนิสัยรักการผลิตหรือไม่ มีความเข้มแข็งทางปัญญา คือ ความใฝ่รู้ ถ้าอยากจะรู้อะไร ก็หาความรู้ในเรื่องนั้นอย่างอุทิศชีวิตให้เลย เด็กไทยของเรามีนิสัยอย่างนี้หรือไม่” สาระของการศึกษาการงานอาชีพและเทคโนโลยี จึงมิใช่แค่การรู้จักทำและรู้จักใช้อุปกรณ์เทคโนโลยีต่างๆ แต่อยู่ที่การพัฒนาความใฝ่สร้างสรรค์ พร้อมทั้งความคิดสร้างสรรค์และฝีมือสร้างสรรค์ กล่าวคือ ความใฝ่ปรารถนาที่จะแก้ปัญหาและทำให้เกิดประโยชน์สุขแก่ชีวิตและสังคมอย่างแรงกล้า ที่ทำให้หาทางและเพียรพยายามนำเอาความรู้ที่ดีที่สุด มาจัดสรรประดิษฐ์นวัตกรรม ที่จะบัน ดาลผลให้สำเร็จประโยชน์สุขนั้น
เนื้อหาสาระการงานอาชีพและเทคโนโลยี
การเรียนรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยีมุ่งพัฒนาผู้เรียนแบบองค์รวม เพื่อให้มีความรู้ความสามารถ มีทักษะในการทำงาน เห็นแนวทางในการประกอบอาชีพและการศึกษาต่อได้อย่างมีประสิทธิภาพ โดยมีสาระสำคัญ ดังนี้
  • การดำรงชีวิตและครอบครัว เป็นสาระเกี่ยวกับการทำงานในชีวิตประจำวัน ช่วยเหลือตนเอง ครอบครัว และสังคมได้ในสภาพเศรษฐกิจที่พอเพียง ไม่ทำลายสิ่งแวดล้อม เน้นการปฏิบัติจริง จนเกิดความมั่นใจและภูมิใจในผลสำเร็จของงาน เพื่อให้ค้นพบความสามารถ ความถนัด และความสนใจของตนเอง
  • การออกแบบและเทคโนโลยี เป็นสาระการเรียนรู้ที่เกี่ยวกับการพัฒนาความสามารถของมนุษย์อย่างสร้างสรรค์ โดยนำความรู้มาใช้กับกระบวนการเทคโนโลยี สร้างสิ่งของ เครื่องใช้ วิธีการ หรือเพิ่มประสิทธิภาพในการดำรงชีวิต
  • เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร เป็นสาระเกี่ยวกับกระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศ การติดต่อสื่อสาร การค้น หาข้อมูล การใช้ข้อมูลและสารสนเทศ การแก้ปัญหาหรือการสร้างงาน คุณค่าและผลกระทบของเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
  • การอาชีพ เป็นสาระที่เกี่ยวข้องกับทักษะที่จำเป็นต่ออาชีพ เห็นความสำคัญของคุณธรรม จริยธรรม และเจตคติที่ดีต่ออาชีพ ใช้เทคโนโลยีได้เหมาะสม เห็นคุณค่าของอาชีพสุจริต และเห็นแนวทางในการประกอบอาชีพ

ประโยชน์ของการงานอาชีพและเทคโนโลยี

หลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐานกำหนดคุณภาพผู้เรียนจบชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 ไว้ ดังนี้
  • เข้าใจวิธีการทำงาน เพื่อช่วยเหลือตนเอง ครอบครัว และส่วนรวม ใช้วัสดุ อุปกรณ์ และเครื่องมือถูกต้องตรงกับลักษณะงาน มีทักษะกระบวนการทำงาน มีลักษณะนิสัยการทำงานที่กระตือรือร้น ตรงเวลา ประหยัด ปลอดภัย สะอาด รอบ คอบ และมีจิตสำนึกในการอนุรักษ์สิ่งแวดล้อม
  • เข้าใจประโยชน์ของสิ่งของเครื่องใช้ในชีวิตประจำวัน มีความคิดในการแก้ปัญหาหรือสนองความต้องการอย่างมีความคิดสร้างสรรค์ มีทักษะในการสร้างของเล่น-ของใช้อย่างง่าย โดยใช้กระบวนการเทคโนโลยี ได้แก่ กำหนดปัญหาหรือความต้องการ รวบรวมข้อมูล ออกแบบโดยถ่ายทอดความคิดเป็นภาพร่าง 2 มิติ ลงมือสร้างและประเมินผล เลือกใช้วัสดุอุปกรณ์อย่างถูกวิธี เลือกใช้สิ่งของเครื่องใช้ในชีวิตประจำวันอย่างสร้างสรรค์ และมีการจัดการสิ่งของเครื่องใช้ด้วยการนำกลับมาใช้ซ้ำ
  • เข้าใจและมีทักษะการค้นหาข้อมูลอย่างมีขั้นตอน การนำเสนอข้อมูลในลักษณะต่างๆ และวิธีดูแลรักษาอุปกรณ์เทค โนโลยีสารสนเทศ

Advertisements